วันพุธที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2558

บันทึกการอ่าน


วันที่ ๒๔  เดือน พฤจิกายน   พ.ศ.  ๒๕๕๘
ที่มา:คมกฤษณ์ ติณจิณดา .โลกดาราศาสตร์และอวกาศม.ปลาย.โครงสร้างของโลก.บริษัท ธิงบียอนด์ บุ๊คส์จำกัด
หน้า ๖-0
สาระสำคัญ
โครงสร้างของโลก
แบ่งตามลักษณะมวลสารเป็นชั้นใหญ่ๆ ๓ ชั้น ดังนี้
๑.ชั้นเปลือกโลกผิวด้านนอกที่ปลกคุมโลกแบ่งเป็น
            ๑.๑ เปลือกโลกภาคพื้นทวีป หมายถึง ส่วนที่เป็นแผ่นดินทั้งหมดประกอบด้วยซิลิกา และอลูมินาเป็นส่วนใหญ่
            ๑.๒ เปลือกโลกใต้มหาสมุทร หมายถึง ส่วนที่ปกคลุมด้วยน้ำ ประกอบด้วย ซิลิกาและแมกนีเซียมเป็นส่วนใหญ่
๒.ชั้นเนื้อโลก เป็นชั้นที่อยู่ถัดลงไปจากชั้นเปลือกโลก ส่วนมากเป็นของแข็ง ลึกประมาณ ๒๙00 เมตร
ธรณีภาคหนาประมาณ ๑00 กิโลเมตร
ฐานธรณีภาค  หินหลอมเหลวร้อน หรือหินหนืด ลึก ๑00 ๓๕0 กิโลเมตรชั้นของแข็งร้อน แน่น และหนืดมาก มีอุณหภูมิประมาณ ๒๒๕0-๔๕00 ลึกประมาณ ๓๕0-๒๙00 กิโลเมตร
๓.ชั้นแกนโลก ลึกจากผิว ๓๙00 กิโลเมตรแบ่งเป็น ๒ ส่วน
            ๓.๑ แก่นโลกชั้นนอก หนา ๒๙00-๕๑00 กิโลเมตร ประกอบด้วยโลหะเหล็กและนิกเกิลเหลวร้อนเป็นส่วนใหญ่
            ๓.๒แก่นโลกชั้นใน อยู่ในสภาพของแข็ง เนื่องจากมีความดันและอุณหภูมิสูงมาก ถึงประมาณ ๖00 องศาเซลเซียล


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น